วันศุกร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

จริยะธรรม ของนิสิต ตอน1 จริยะธรรม

จริยะธรรม

จริยะ คือ ความประพฤติ กริยา ที่ควรปฏิบัติ
จริยะมี 3 คำใหญ่ๆ คือ 1. ความประพฤติ 2. กิริยา 3. ควรปฏิบัติ
ธรรม คือหลักแห่งความประพฤติ แนวทางการปฤติของคนในสังคมโลก

((จริยธรรม! หมายถึง เป็นสิ่งที่พึ่งปฏิบัติ และต้องประพฤติ))


ETHICS หลักคำสอน ว่าด้วยความประพฤติ
เป็นหลักสำรับให้บุคลยึกถือ ในการปฏิบัติตน
ความประพฤติที่ถือว่าเป็น สิ่งที่มีคุณค่า
องกระกอบของ Ethics
1 ธรรมเนียมประเพณี
2 ศิลธรรม
3 คุณธรรม
ประมวลความประพฤติ
ความนึกคิด ในสิ่งที่ดีงาม
ความเหมาะสม
ระบบการทำความดี ละเว้นความชั่ว
หลักการ หรือแนวทางการปฏิบัติตน การกระทำ หรือการแสดงออกในรูปของพฤติกรรม
ความประพฤติและการกระทำที่ดีงามที่เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อืน
ลักษณะของจริยธรรม 1.เป็นสิ่งที่ต้องเรียนรู้อย่างมากมาย
2.ประกอบด้วย 3 อย่าง
1.พุทธิปัญญา ผู้รู้ สมอง
2.ความรู้สึก อารมณ์
3.พฤติกรรม การกระทำ
3.พัฒนาการทางจริยธรรมเกิดคู่กับ เชาวน์ปัญญา
4.พฤติกรรมเชิงจริยธรรม บางอย่างเปลี่ยนแปรไปตาม สถานการณ์ มี 3 ประเภท
1.จริยธรรม เชิงสากล
2.จริยธรรม เชิงกลุ่ม
3.จริยธรรม เฉพาะคน
จริยธรรม เชิงสากล การรับประทานอาหารชาวตะวันตก
การแต่งการ แต่งตาม สถานการณ์
จริยธรรม เชิงกลุ่ม กลุ่มชุมชน
กลุ่มสังคม
จริยธรรม เฉพาะคน ทำให้แตกต่างจากคนอื่น ปัจเจกบุคล


องค์ประกอบทางจริยธรรม 4 องค์ประกอบ
1.ความรู้เชิงจริยธรรม ความรู้คือสิ่งที่เป็นแก่นสาร เฉพาะฉนั้นคนต้องมีความรู้ดี รู้ชั่ว
การมีความรู้ ว่าการกระทำดี และ ไม่ดี แยกแยะไม่ออกเพราะไม่มีความรู้ในการวิเคราะห์
ควรปฏิบัติ หรือ ไม่ควรปฏิบัติ
ความรู้เกี่ยวกับกฏเกณฑ์
ค่านิยม
หลักธรรม
2.เจตคติทางจริยธรรม
ความรู้สึกของบุคลท่มีต่อลักษณะนั้นๆ ค่ายม ในเรื่องนั้นๆ
3.เหตุผลเชิงจริยรรม ทำทำไม ทำได้อะไร
การที่บุคคลใช้เหตุผลในการเลือกที่ จะกระทำ หรือเลือกที่ ไม่กระทำ
แรงจูงใจ
พฤติกรรมเชิงจริยธรรม
การที่บุคคลแสดงพฤติกรรมที่ สังคมนิยมชมชอบ
งดเว้นการอสดงพฤติกรรม ที่ขัดต่อกฏเกณฑ์


แหล่งกำเนิด Moral and Ethics
1.แหล่งกำเนิดจากภายในตัวบุคล จิตรใจ
Intellectual เชาว์ปัญญาอเกิดจากสมอง มีความรู้ไหมในเรื่องของจริยธรรม
พุทธิปัญญา ผู้ที่มีสติปัญญาจะสามารถ พัฒนาจริยธรรม
Moral ค่ายม
คุณธรรม อันเกิดจากศิลธรรม
คุณธรรมที่เกิดจากการปฏิบัติจริง
การเรียนรู้
Moral and Ethics
ารแสดงออกพฤติกรรมท่ถูกต้อง ซึ่งนำไปสู่สภาวะของ ความสุข
1.ตัวกำหนดที่มาจากพันธุกรรม
มนุษย์เกิดมาพร้อม คุณภาพของสมอง
ที่จะพัฒนาขึ้นเป็นความ ฉลาดเฉลียว ด้านปัญญา
การถ่ายทอด
การพัฒนาด้านการคิดแบะ สิตปัญญาจะเจริญงอกงาม มาจากภายใต้
อิทธิผลของ การเลี้ยงดู
2.ตัวกำหนดที่มาจากจิตใจ
ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี
เกิดจาก มโนธรรม ที่อยู่ในความรู้สึกนึกคิด ทำแล้วดีไหม หรือว่าแย่ลง
สภาพของจิตจึ่งก่อให้ิเกิดอารมณ์ และความรู้สึก
การมีคุณธรรม จริยธรรมที่ดี
การขาดคณธรรม จริยธรรม
2.แหล่งกำเนิดจากภายนองบุคล สังคม สภาพแวดล้อม
จริยธรรม ตามหลักนิติรัฐ
1.กฏหมาย
2.หลักศิลธรรม
3.หลัของพุทธศาสนา
จริยธรรม ตามหลักมาตรฐาน
วามดีที่ควรนับถือ
กำหนดเป็นแนวปฏิบัติ บทบังคับใช้
การลงโทษ เมื่อเกิดการละเมิด
วินัย
ทศพิธราชธรรม เป็นธรรมที่นำมาใช้ในการ ปกครองบ้านเมือง
1. ทาน หรือการให้ เสียสละ ให้อภัย
2. ศิล ทั้งการ วาจา ใจ
3. การบริจาก เสียสละความสุขส่วนตน
4. ความซื่อตรง เป็นมาตรฐานของผู้นำ
5. ความอ่อนโยน เคารพในเหตุผลที่ควร มีสัมมาคารวะต่อผู้อาวุโส
6. ความเพียน ความสุตสาหะ ไม่เกียดคาน
7. ความไม่โกรท
8. ไม่เบียดเบียน
9. ความอดทน การรักษา การ วาจา ใจ
10. ความยุติธรรม ความหนักแน่น ความเที่ยงธรรม

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น