วันพุธที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2553

ส.ป.ช. บทเรียนที่ 1 ตอนอย่าตื่นสาย


ในวันอังคาร ที่ 29 มิถุนายน 53 อากาศเย็นสบายที่ห้องแอร์แห่งหนึ่ง กับเตียงนอนนุ่มๆ หมอนใบใหญ่ และทีวีจอยักษ์ อ้าว!! 7โมงกว่าแล้ว ยังไม่อยากตื่นเลย Y^Y แต่ต้องตื่น เพื่อความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมา เมื่อทำธุระเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็รีบควบรถมอเตอร์ไซค์คู่ใจมาที่ขณะ ศึกษาศาสตร์ทันที พอมาถึงอาจารย์ก็ได้เช็คชื่อแล้ว (กูมาไม่ทันอีกแล้ว)Y^Y ในขณะที่นั้งเบื่อโลกเพราะตื่นมาเรียนไม่ทันนั้น ก็มีอาการง่วงขึ้นมาอย่างไม่ต้อง เพราะเมื่อวานได้เกมมาใหม่แล้วเล่นจนเกือบสว่าง (โห..! มึงเห็นเกมส์ดีกว่าการเรียน พ่อแม่มึงส่งมาเล่นเกมส์หรอ)

แล้วก็ง่วง คิดอย่างเดียวว่าต้องทำอะไรซักอย่างแล้วเพราะมาที่หลังด้านหลังถูกจองหมดแล้วเหลือแต่ด้านหน้าหน้าอาจารย์อีกต่างหาก สมุด ปากกาก็ไม่มี มีโน้ตบุ๊ก เครื่องเดียว เอ้!....มีโน้ตบุ๊กก็พิมพ์เก็บในโน้ตบุ๊กมาสิ! ใช่แล้ว! จากนั้นผมก็นั่งฟังและ

พิมพ์ตาม ก็หายง่วงและได้ความรู้มากพอสมควร

ท่านคนใดที่ได้อ่านบทความนี้ ก็อย่า งงและสงค์สัยกับว่ามันจะมีสาระอะไร อะผมเชื่อว่าความไม่

มีสาระ คือสาระของตัวมันเอง (วิธีการของผมใครอย่างใช้ก็สามารถนำไปใช้ได้ครับ หายง่วงจริงๆ) เท่าที่จำใจความและนั่งพิมพ์ให้ทันอาจารย์ ก็ได้เท่านี้ครับ^^~

วัสดุสื่อ

คือสื่ออะไรก้อได้ ที่นำกลับมาใช้ซ้ำได้!! ภาพ ตัวอักษร เล่นการบันทึกวีดีโอ

คุณสมบัติของสื่อที่ดี ต้องเข้าใจได้ง่ายขึ้นและไม่ซับซ้อน

สื่อเทคโนโลยี ต้องมีอุปกรณ์ ในการช่วยสื่อ

สื่อสิ่งพิมพ์ สามารถ ใช่ได้เลย

โดยไม่ต้องผ่านตัวช่วย

มนุษย์ มีการรับรู้อยู่ 5 ทาง

รับรู้ทางสายตา 83 %

รับรู้ทางการได้ยิน 11 %

รับรู้ทางจมูก 3.4 %

รับรู้ทางผิวหนัง 1.5

รับรู้ทางรสชาติ 1 %

เมื่อการรับรู้ ของตาและหู รวมกัน สูงถึง 94 สื่อเทคโนโลยี จึงช่วยให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีกว่าสื่อใดๆ เมื่อผลิตสื่อ ตัวใช้ภาพประกอบ และเสียงได้ยิง จำให้รับได้ ถึง 94 %

สื่อแบ่งได้ สองประเภท

1 สื่อโสตทัศนวัสดุ คือ สื่อที่สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง

สื่อบันทึกเสียง ยุคแรก เป็น กระบอกเสียง (เอดิสัน เป็นผู้ค้นพบแรงสันสะเทือน)

ยุคต่อมาเป็น แผ่นเสียง(อีมิล ชาวเยอรมัน เป็นผู้คิดค้น โดยนำ ชแลด ยางเหนียว และขี้ครั่ง มาผมกันและทำ เป็นแผ่นแบนๆ ผลิตกันแพร่หลายโดยเรียนแผ่นบันทึก เสียงว่า แผ่นคลั่ง ต่อมาใช้พลาสติก ในการทำ และ รับสัญญาณเสียงด้วยปลายเข็ม(แรงสันสะเทือน)
ยุคกลางเป็น เทปบันทึกเสียง

ผลิตจากพลาสติก และรุ่นก่อนจะคล้ายกับม้วนฟิล์

ม ต่อมาเป็นเทปที่เรียนว่า เทป 8 แทร็ก มีขนาดใหญ่และมีความจุมาก ถึง การบันถึกเพลงได้ 12 เพลง ต่อมาเนเธอร์แลนด์ ได้คิดค้นจากการทำงานของเทปใหญ่ๆ ให้เล็กลง เรียนว่าจึงเทปคาสเซต ได้ผลิตจากพาสติกประเภทอาซีเตท และโพลีเยสเตอร์ เพื่อให้ในการพกพาได้ง่ายมากขึ้น เป็นเทปที่เห็นในปัจจุบัน

สื่อบันทึกภาพ สไลด์ (slide) เป็นแผ่นโปร่งใสที่บันทึกบนแผ่นฟิล์มและมีลักษณะเหมือนจริง

ฟิล์ม การบันถึกภาพแบบ เน็คกาทีฟฟิล์ม และการบันทึกภาพจะเป็นภาพหัวกลับคือฟิล์มถ่ายรูปท่วไป

กล้องถ่ายรูป

สื่อบันทึกทั้งภาพและเสียง

ฟิล์มภาพยนตร์

ชนิดที่ไม่มีเสียงและมีภาพละเสียงเป็นภาพนิ่งโปร่งใส บันทึกอิริยาบถจริง ใน1นาทีสามารถบันถึงภาพได้ 16-19 ภาพ และแสดงภาพโดยใช้กลักการภาพติดตา(จดจำภาพในช่วงระยะเวลาหนึ่งและเลือนหาบไป)

ของสายตามนุษย์ (การทันทึกภาพครั้งแรกของโลก เกิดจาก ผู้ว่าการรัฐแคลิฟอเนียต้องการพิสูตร์ ว่าม้าของตนเวลาวิ่งขาม้าทั้ง 4ขาจะลอยขึ้นฟ้าทั้งหมดหรือไม่? เป็นเพียงข้อวิวาท ที่นำมาซึ่งความยิ่งใหญ่ในปัจจุบัน)

ดีวีทัศน์ เรียนว่าวีดีโอ เทปโทรทัศน์ภาพทัศน์ แถบบันทึกภาพ สามารถบันทึกภาพแล้วฉายดูได้ทันที เป็นการบันทึกภาพและเสียงในรูปแบบคลื่นแม่หล็กไฟฟ้าสามารถลบและบันทึกใหม่ได้ การผลิตโดยใช้กล้องถ่ายภาพเหตุการณ์ หรือบันทึกสัญญาณการออกอากาศางรายการที่ติดตามชม

เลเซอร์ดิส(CAV) เป็นแผ่นซีดีรุ่นแรกมีขนาดใหญ่

ซีดี(CD) ผลิตคั้งแรกในโลกปี 17สิงหาคม 2525 เป็นการทำงานร่วมกันระหว่าง บ.โซนี่ และบ.ฟิวริป

CD-Rซีดี-อาร์ เป็นแผ่นที่สามารถบันทึกได้จนกว่าแผ่นจะเต็มแต่ไม่สามารถ

ลบและลงข้อมูลทับข้อมูลเก่าได้ แต่สามารถบันทึกเพิ่มเติมได้

ข้อมูลได้ มี4 สถานะ 1แผ่นเปล่า

2 แผ่นที่บันทึกแต่ยังไม่เต็ม

3 บันทึกเต็มในที่เดียว

4 บันทึกหลายๆครั้ง จนเต็มแผ่น

CD-RW เป็นแผ่นที่สามารถเขียนและลบได้

CD-Audio แผ่นที่สามารถบันทึกแสง เพลง

VCD แผ่นที่สามารถบันทึกภาพยนตร์

ดีวีดี(DVD) เป็นการคิดค้นรวมกัน 11 บริษัท DVD ย่อมาจาก Digital Video Dise ความจุของแผ่น 8.5 GBคือ DVD9 และ4.7 GB คือDVD5 ที่ใช้ตามทั่วไปในปัจจุบัน

2 สื่อโสตทัศนูปกรณ์ คือตัวกลางหรือตัวผ่านที่ทำให้สารสนเทศที่เป็นสาระ ความรู้ ถูกถ่ายทอดและนำเสนอออกมาให้รับรู้ได้

(อันนี้ผมลุกไปเข้าห้องน้ำแล้วนั่งนานไปหน่อยพอเข้ามากจบแล้วY^Y หน้าเสียดาย)อย่าเป็นเหมือนผมเลย

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น